ชีวสถิติสาธารณสุข (Public Health Biostatistics)


หลักสูตรนี้เป็นการอธิบายความรู้เกี่ยวกับแนวคิดวิธีทางชีวสถิติ เพื่อมุ่งเน้นให้ผู้เรียนสามารถนำสถิติไปใช้ในการพัฒนางานวิจัยด้านสาธารณสุข การสร้างฐานข้อมูลเพื่อวิเคราะห์เบื้องต้นด้วยคอมพิวเตอร์ การนำเสนอข้อมูลด้วยตารางและแผนภาพ สถิติอ้างอิงที่เหมาะสมกับงานวิจัยทางสาธารณสุขศาสตร์ โปรแกรมทางสถิติสำหรับสถิติอ้างอิง สถิตินอนพาราเมตริก ขนาดกลุ่มตัวอย่าง และความเชื่อมั่น การทดสอบสำหรับตารางการณ์จร แนวทางการวิพากษ์ชีวสถิติในผลงานวิชาการ ซึ่งภายหลังการสำเร็จหลักสูตรแล้วผู้เรียนสามารถนำไปใช้ในการทำวิจัยและการทำงานในสาขาวิชาชีพต่อไปได้

** ผู้ที่สมัครอบรมหลักสูตรนี้ จะได้เรียนร่วมกับนักศึกษาระดับปริญญาโท หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต **

ช่วงวันรับสมัคร
วันเริ่มรับสมัคร 8 ส.ค. 65 เวลา 08:30 น.
วันสิ้นสุดรับสมัคร 7 ก.ย. 65 เวลา 16:30 น.
วันสิ้นสุดชำระค่าสมัคร 8 ก.ย. 65 เวลา 08:30 น.
ช่วงเวลาเรียน
10 ก.ย. 65 เวลา 09:00 น. ถึง 2 ต.ค. 65 เวลา 16:00 น.
On-Site Training
ห้องเรียนใหญ่ ชั้น 1 คณะสาธารณสุขศาสตร์
อบรมเฉพาะวันเสาร์ - อาทิตย์ เวลา 9.00 – 16.00 น.
จำนวนรับสมัคร
10 คน
(เปิดอบรมเมื่อมีจำนวนผู้ลงทะเบียนขั้นต่ำ 2 คน)
ประเภทหลักสูตร
กำลังโหลดข้อมูล...
ความรู้พื้นฐาน/คุณสมบัติของผู้สมัคร

มีความรู้พื้นฐานทางด้านสถิติ/ชีวสถิติหรือเคยทำงานด้านสถิติมาก่อน หรือเป็นผู้ที่เคยเรียนในวิชาสถิติ/ชีวสถิติในระดับปริญญาตรี

ค่าธรรมเนียมการศึกษา
(ราคานี้รวมค่าบำรุงมหาวิทยาลัยแล้ว)
7,350 บาท
(ไม่รวมค่าบำรุงมหาวิทยาลัย 600 บาท (ยกเว้นค่าบำรุงมหาวิทยาลัยสำหรับนักศึกษา ผู้ปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัย หรือผู้ที่สำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่))
ค่าบำรุงมหาวิทยาลัย
* สำหรับนักศึกษา บุคลากร หรือศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จะยกเว้นค่าบำรุงมหาวิทยาลัย 600 บาท (ยอดชำระ 6,750 บาท)
ส่วนลด
-
เงื่อนไขการรับสมัคร

มีความรู้พื้นฐานทางด้านสถิติ/ชีวสถิติหรือเคยทำงานด้านสถิติมาก่อน หรือเป็นผู้ที่เคยเรียนในวิชาสถิติ/ชีวสถิติในระดับปริญญาตรี

หลักการและเหตุผล

หลักสูตรนี้มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้ทราบถึงแนวคิดวิธีทางชีวสถิติ และสามารถนำสถิติไปใช้ในการพัฒนางานวิจัยด้านสาธารณสุข การสร้างฐานข้อมูลเพื่อวิเคราะห์เบื้องต้นด้วยคอมพิวเตอร์ การนำเสนอข้อมูลด้วยตารางและแผนภาพ สถิติอ้างอิงที่เหมาะสมกับงานวิจัยทางสาธารณสุขศาสตร์ โปรแกรมทางสถิติสำหรับสถิติอ้างอิง สถิตินอนพาราเมตริก ขนาดกลุ่มตัวอย่าง และความเชื่อมั่น การทดสอบสำหรับตารางการณ์จร แนวทางการวิพากษ์ชีวสถิติในผลงานวิชาการ ซึ่งภายหลังการสำเร็จหลักสูตรแล้วผู้เรียนสามารถนำไปใช้ในการทำวิจัยและการทำงานในสาขาวิชาชีพต่อไปได้

เนื้อหาของหลักสูตร

หลักสูตรนี้มีจำนวนชั่วโมงเรียนรวม 39 ชั่วโมง โดยแบ่งเป็น 10 หน่วยการเรียนรู้ จำนวน 13 หัวข้อ ดังนี้

เนื้อหาอบรมเทียบกระบวนวิชา      
หัวข้อ
หลักสูตรอบรมฯ
รูปแบบการอบรม/
จำนวนชั่วโมง
หัวข้อ
กระบวนวิชาชีวสถิติสาธารณสุข สธ.700 (676700) : 3 credits
รูปแบบการเรียนการสอน/
จำนวนชั่วโมง
1. หน่วยที่ 1 การพรรณนาข้อมูล
1) แนวคิดชีวสถิติ
2) การพรรณนาข้อมูล
การบรรยาย 3 ชม. 1. หน่วยที่ 1 การพรรณนาข้อมูล
1) แนวคิดชีวสถิติ
2) การพรรณนาข้อมูล
การบรรยาย 3 ชม.
2. หน่วยที่ 1 การพรรณนาข้อมูล
3) การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรม SPSS
4) ตารางการนำเสนอข้อมูลลักษณะทั่วไปที่ศึกษา
การบรรยาย 3 ชม. 2.หน่วยที่ 1 การพรรณนาข้อมูล
3) การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรม SPSS
4) ตารางการนำเสนอข้อมูลลักษณะทั่วไปที่ศึกษา
การบรรยาย 2 ชม.
ฝึกปฏิบัติ 1 ชม.
3. หน่วยที่ 2 หลักการอนุมานทางสถิติ
1) การแจกแจงความน่าจะเป็น
2) การแจกแจงค่าสถิติ
3) การประมาณค่า
4) การทดสอบสมมติฐานทางสถิติ ระดับความเชื่อมั่น/นัยสำคัญทางสถิติ และกำลังการทดสอบ (type I/II error)
การบรรยาย 3 ชม. 3. หน่วยที่ 2 หลักการอนุมานทางสถิติ
1) การแจกแจงความน่าจะเป็น
2) การแจกแจงค่าสถิติ
3) การประมาณค่า
4) การทดสอบสมมติฐานทางสถิติ ระดับความเชื่อมั่น/นัยสำคัญทางสถิติ และกำลังการทดสอบ (type I/II error)
การบรรยาย 3 ชม.
4. หน่วยที่ 3 สถิติที่ใช้บ่อยในงานวิจัย เมื่อผลลัพธ์เป็นตัวแปรเชิงกลุ่ม
1) เปรียบเทียบค่าสัดส่วน
2) ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรเชิงกลุ่ม
การบรรยาย 3 ชม. 4. หน่วยที่ 3 สถิติที่ใช้บ่อยในงานวิจัย เมื่อผลลัพธ์เป็นตัวแปรเชิงกลุ่ม
1) เปรียบเทียบค่าสัดส่วน
2) ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรเชิงกลุ่ม
การบรรยาย 2 ชม.
ฝึกปฏิบัติ 1 ชม.
5. หน่วยที่ 4 สถิติที่ใช้บ่อยในงานวิจัย เมื่อผลลัพธ์เป็นตัวแปรต่อเนื่อง (nonparametric statistics)
1) เปรียบเทียบค่าประชากรสองกลุ่ม
2) เปรียบเทียบค่าประชากรมากกว่าสองกลุ่ม
3) ความสัมพันธ์อย่างง่ายระหว่างตัวแปร (การวิเคราะห์ถดถอยและสหสัมพันธ์อย่างง่าย)
การบรรยาย 3 ชม. 5. หน่วยที่ 4 สถิติที่ใช้บ่อยในงานวิจัย เมื่อผลลัพธ์เป็นตัวแปรต่อเนื่อง (nonparametric statistics)
1) เปรียบเทียบค่าประชากรสองกลุ่ม
2) เปรียบเทียบค่าประชากรมากกว่าสองกลุ่ม
3) ความสัมพันธ์อย่างง่ายระหว่างตัวแปร (การวิเคราะห์ถดถอยและสหสัมพันธ์อย่างง่าย)
การบรรยาย 2 ชม.
ฝึกปฏิบัติ 1 ชม.
6. หน่วยที่ 5 สถิติที่ใช้บ่อยในงานวิจัย เมื่อผลลัพธ์เป็นตัวแปรต่อเนื่อง (parametric statistics)
1) เปรียบเทียบค่าประชากรสองกลุ่ม
2) เปรียบเทียบค่าประชากรมากกว่าสองกลุ่ม
3) ความสัมพันธ์อย่างง่ายระหว่างตัวแปร (การวิเคราะห์ถดถอยและสหสัมพันธ์อย่างง่าย)
การบรรยาย 3 ชม. 6. หน่วยที่ 5 สถิติที่ใช้บ่อยในงานวิจัย เมื่อผลลัพธ์เป็นตัวแปรต่อเนื่อง (parametric statistics)
1) เปรียบเทียบค่าประชากรสองกลุ่ม
2) เปรียบเทียบค่าประชากรมากกว่าสองกลุ่ม
3) ความสัมพันธ์อย่างง่ายระหว่างตัวแปร (การวิเคราะห์ถดถอยและสหสัมพันธ์อย่างง่าย)
การบรรยาย 2 ชม.
ฝึกปฏิบัติ 1 ชม.
7. หน่วยที่ 6 สถิติที่ใช้บ่อยในงานวิจัย เมื่อต้องการทำนายตัวแปร
1) Multiple linear regression
การบรรยาย 3 ชม. 7. หน่วยที่ 6 สถิติที่ใช้บ่อยในงานวิจัย เมื่อต้องการทำนายตัวแปร
1) Multiple linear regression
การบรรยาย 2 ชม.
ฝึกปฏิบัติ 1 ชม.
8. หน่วยที่ 6 สถิติที่ใช้บ่อยในงานวิจัย เมื่อต้องการทำนายตัวแปร
2) Logistic regression
การบรรยาย 3 ชม. 8. หน่วยที่ 6 สถิติที่ใช้บ่อยในงานวิจัย เมื่อต้องการทำนายตัวแปร
2) Logistic regression
การบรรยาย 2 ชม.
ฝึกปฏิบัติ 1 ชม.
9. หน่วยที่ 6 สถิติที่ใช้บ่อยในงานวิจัย เมื่อต้องการทำนายตัวแปร
3) Poisson regression
การบรรยาย 3 ชม. 9. หน่วยที่ 6 สถิติที่ใช้บ่อยในงานวิจัย เมื่อต้องการทำนายตัวแปร
3) Poisson regression
การบรรยาย 2 ชม.
ฝึกปฏิบัติ 1 ชม.
10.หน่วยที่ 7 สถิติอื่น ๆ ที่ใช้บ่อยในงานวิจัย
1) Repeated measures ANOVA
2) Reliability of measurement tools
การบรรยาย 3 ชม. 10.หน่วยที่ 7 สถิติอื่น ๆ ที่ใช้บ่อยในงานวิจัย
1) Repeated measures ANOVA
2) Reliability of measurement tools
การบรรยาย 2 ชม.
ฝึกปฏิบัติ 1 ชม.
11.หน่วยที่ 8 การคำนวณขนาดตัวอย่างในงานวิจัย
1) แนวคิดการคำนวณขนาดตัวอย่าง
2) การคำนวณขนาดตัวอย่างเพื่อการประมาณค่าข้อมูลต่อเนื่อง และข้อมูลจำแนกประเภท
3) โปรแกรมสำเร็จรูปสำหรับคำนวณขนาดตัวอย่างกรณีประชากรกลุ่มเดียวและสองกลุ่ม
การบรรยาย 3 ชม. 11.หน่วยที่ 8 การคำนวณขนาดตัวอย่างในงานวิจัย
1) แนวคิดการคำนวณขนาดตัวอย่าง
2) การคำนวณขนาดตัวอย่างเพื่อการประมาณค่าข้อมูลต่อเนื่อง และข้อมูลจำแนกประเภท
3) โปรแกรมสำเร็จรูปสำหรับคำนวณขนาดตัวอย่างกรณีประชากรกลุ่มเดียวและสองกลุ่ม
การบรรยาย 2 ชม.
ฝึกปฏิบัติ 1 ชม.
12. หน่วยที่ 9 การจัดการข้อมูล การบรรยาย 3 ชม. 12. หน่วยที่ 9 การจัดการข้อมูล การบรรยาย 2 ชม.
ฝึกปฏิบัติ 1 ชม.
13. หน่วยที่ 10 หัวข้อพิเศษ
1) การประเมินและวิพากษ์วิธีการทางสถิติในบทความวิจัยทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ
การบรรยาย 3 ชม. 13. หน่วยที่ 10 หัวข้อพิเศษ
1) การประเมินและวิพากษ์วิธีการทางสถิติในบทความวิจัยทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ
ร่วมกันอภิปรายในชั้นเรียน 3 ชม.
รวม 39 ชั่วโมง รวม 39 ชั่วโมง
 

ชีวสถิติสาธารณสุข (Public Health Biostatistics)

Responsive image

ผู้รับผิดชอบหลักสูตร

...
ผศ.ดร. สินีนาฏ ชาวตระการ
ผู้รับผิดชอบหลักสูตร

คณะสาธารณสุขศาสตร์
สาธารณสุขศาสตร์
ช่องทางในการติดต่อสอบถาม
คุณรจนา ศรีจันทร์
rojana.s@cmu.ac.th
053 - 942505
...
หลักสูตรสะสมหน่วยกิต
หลักสูตรที่สามารถสะสมหน่วยกิต เพื่อเทียบโอนเข้ามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ได้
...
การเรียนรูปแบบ Onsite
เป็นหลักสูตรเรียนรู้ในสถานที่

แนะนำสำหรับคุณ
Card image cap

วันที่รับสมัคร 7 ก.ค. 2568 - 23 ก.ค. 2568
ภาษาไทย
สะสมหน่วยกิต
ราคา 7,350 บาท


เรียนทั้งออนไลน์
และในสถานศึกษา
Card image cap

วันที่รับสมัคร 3 ก.พ. 2568 - 31 ธ.ค. 2568
ภาษาไทย
สะสมหน่วยกิต/รับรองสมรรถนะ
ราคา 3,600 บาท


เรียนออนไลน์
Card image cap

วันที่รับสมัคร 3 ก.พ. 2568 - 31 ธ.ค. 2568
ภาษาไทย
รับรองสมรรถนะ
ราคา 1,500 บาท


เรียนออนไลน์
Card image cap

วันที่รับสมัคร 24 ก.พ. 2568 - 1 ม.ค. 2570
ภาษาไทย
สะสมหน่วยกิต
ราคา 3,000 บาท


เรียนออนไลน์